ความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน 5 บทคืออะไร ทำไมต้องทำวิจัย ทำไมครูต้องทำวิจัยในชั้นเรียน

ความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน 5 บทคืออะไร ทำไมต้องทำวิจัย ทำไมครูต้องทำวิจัยในชั้นเรียน

ความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน 5 บทคืออะไร ทำไมต้องทำวิจัย ทำไมครูต้องทำวิจัยในชั้นเรียน

ความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน 5 บทคืออะไร ทำไมต้องทำวิจัย ทำไมครูต้องทำวิจัยในชั้นเรียน

ครูกับการวิจัย ทำไมครูต้องทำวิจัยในชั้นเรียน 5 บท

การวิจัยเป็นเครื่องมือ เป็นกระบวนการที่ทุกงานในทุกสาขาอาชีพใช้ในการหาความรู้ หรือข้อค้นพบในการแก้ปัญหา หรือพัฒนางานได้อย่างเป็นระบบน่าเชื่อถือ

งานของครูนับเป็นวิชาชีพชั้นสูงที่ต้องการความเชื่อถือได้ในผลงาน ซึ่งถ้าครูใช้การวิจัยในการพัฒนาหรือแก้ปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียนจะแสดงให้เห็นถึงความเชื่อมั่นได้ในการทำงานของครูและเป็นการประกันคุณภาพลักษณะหนึ่ง

ทำไมต้องทำวิจัย

โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรางคณา ผลประเสริฐ ความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน 5 บท

จากความหมายของการวิจัยที่ได้กล่าวถึงในฉบับที่แล้ว ในฉบับนี้จะกล่าวถึงประโยชน์ของงานวิจัย เพราะในปัจจุบันหลายหน่วยงานได้ให้ความสำคัญกับการทำวิจัยเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการกำหนดเกณฑ์ในการประเมินผลการดำเนินงาน เช่น “ จำนวนงานวิจัยที่ทำต่อจำนวนบุคคลากรในหน่วยงาน ” หรือกำหนดให้เป็นสมรรถนะที่จำเป็นของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน เป็นต้น สาเหตุสำคัญของการกำหนดให้บุคลากรต้องมีการทำวิจัยนั้น เนื่องมาจากเห็นความสำคัญหรือประโยชน์ของการวิจัย นั่นเอง ซึ่งสามารถสรุปประโยชน์ของการทำวิจัยได้ ดังนี้

1. เกิดวิทยาการใหม่ ๆ เพิ่มพูนมากยิ่งขึ้นทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ

2. ใช้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องและยุติธรรม

3. ช่วยให้เข้าใจและทำนายปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้ดีขึ้น การวิจัยในชั้นเรียน pdf การวิจัยในชั้นเรียน ppt

4. ช่วยในด้านการกำหนดนโยบาย การวางแผนงาน และตัดสินปัญหา

5. ตอบคำถามที่ยังคลุมเครือให้กระจ่างชัดยิ่งขึ้น

6. ช่วยกระตุ้นความสนใจของนักวิชาการ

7. ทำให้ทราบข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซึ่งนำมาใช้เป็นประโยชน์เพื่อการปรับปรุงหรือพัฒนา

8. ช่วยให้มีเครื่องมือและเทคโนโลยีใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา

9. ช่วยกระตุ้นบุคคลให้มีเหตุผล รู้จักคิด และค้นคว้าหาความรู้อยู่เสมอ

10. ช่วยในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล หน่วยงานและองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

11. ทำให้การปฏิบัติงานต่างๆ เป็นไปอย่างถูกต้องและมีเหตุผลดียิ่งขึ้น การ วิจัย ใน ชั้น เรียน มี ชื่อ เรียก ว่า อะไร บ้าง

งาน วิจัย ใน ชั้น เรียน ของ ครู ใน กลุ่ม สาระ ปฐมวัย คือ ความ สำคัญ ของ การ วิจัย ใน ชั้น เรียน ควร นำ เสนอ ใน ส่วน ใด

แจกไฟล์วิจัยในชั้นเรียน 5 บท >>ดาวน์โหลดคลิ๊กที่นี่ <<

จะเห็นได้ว่าการทำวิจัยมีประโยชน์หลายประการ ทั้งนี้ ถ้าจะกล่าวถึงจุดมุ่งหมายทั่วไปของการวิจัยอย่างกว้าง ๆ แล้วอาจกล่าวได้ว่า ในการทำการวิจัยใด ๆ ก็ตาม ผู้ทำการวิจัยจะมีจุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหนึ่งใน 2 ประการนี้ คือ

1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ใหม่ เนื่องจากธรรมชาติของมนุษย์มีความอยากรู้อยากเห็น อยากทราบเหตุผลและปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จึงทำการวิจัยเพื่อค้นหาคำตอบ สิ่งใดที่พอรู้อยู่บ้างก็ทำให้รู้และเข้าใจดียิ่งขึ้น เป็นการเพิ่มพูนวิทยาการให้กว้างขวางลึกซึ้ง

2. เพื่อนำผลไปประยุกต์หรือใช้ให้เป็นประโยชน์ จุดมุ่งหมายของการวิจัยนี้เกิดขึ้นเมื่อมีปัญหาที่จะต้องค้นคว้าหาความจริงเพื่อนำผลที่ได้จากการวิจัยไปแก้ปัญหา หรือประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อไป

จุดมุ่งหมายของการวิจัยทั้ง 2 ประการนี้ มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เพราะจุดมุ่งหมายประการแรกมุ่งวิจัยเพื่อเพิ่มพูนความรู้ใหม่ทำให้ค้นพบกฎหรือทฤษฎี ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ได้ตามจุดมุ่งหมายของการวิจัยในข้อ 2

การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เป็นการศึกษาค้นคว้าของครู ซึ่งจัดว่าเป็นผู้ปฏิบัติงานในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหา (Problem Solving) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือพฤติกรรมนักเรียนและคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน (ประวิต เอราวรรณ์ 2542: 3)          Download

    คือการวิจัยที่ทำโดยครูผู้สอนในห้องเรียน เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและนำผลมาใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนเพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน เป็นการวิจัยที่ต้องทำอย่างรวดเร็ว นำผลไปใช้ทันทีและสะท้อนข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานต่าง ๆ ของตนเอง ให้ทั้งตนเองและกลุ่มเพื่อนร่วมงาน (สุวิมล ว่องวานิช 2543: 163)       

        คือกระบวนการแสวงหาความจริงด้วยวิธีการที่เชื่อถือได้ในเนื้อหาที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ (ประกอบ มณีโรจน์ 2544: 4)       

       จากที่กล่าวมานี้สรุปได้ว่า เป็นการวิจัยที่ครูทำเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียนของผู้เรียนบางคน บางกลุ่ม หรือทั้งหมด ซึ่งผลการวิจัยสามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงการเรียน การสอน และพฤติกรรมของผู้เรียน โดยมีกระบวนการวางแผน ปฏิบัติตามแผน สังเกตผลที่เกิดขึ้น และการสะท้อนความคิด

การวิจัยแบบง่าย: บันใดสู่ครูนักวิจัย

หัวใจสำคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 คือ การปฏิรูป การเรียนรู้และผู้มีบทบาทสำคัญที่สุด ที่จะเป็นพลังขับเคลื่อนให้การปฏิรูปการศึกษาประสบความสำเร็จมากที่สุด คือ “ครู” หน้าที่โดยตรงของครู คือการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพของแต่ละคน ดังนั้น ครูจะต้องใช้ความพยายามอยู่ตลอดเวลากับการค้นหาวิธีการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีที่สุด ด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับความสามารถของตนเองซึ่งเป็นที่ยอมรับกันว่า การวิจัยเป็นกระบวนการค้นหาความรู้และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบเชื่อถือได้ ดังนั้น ถ้าครูได้นำหลักการสำคัญการวิจัยมา

ท่านสามารถติดต่อเข้าร่วมกลุ่ม ข่าวสาร เพื่อติดตามผลงานและสื่อต่าง ๆ ได้ที่ >> 

https://www.facebook.com/groups/298149415474258

ไลน์อบรมครู โปรดแตะลิงก์ด้านล่างเพื่อเข้าร่วมโอเพนแชทนี้

https://line.me/ti/g2/EHHH3OnnzJUgpigjqZkqyZUJcEaO8E-KmecbSw?utm_source=invitation&utm_medium=link_copy&utm_campaign=default

เกี่ยวกับเรา

ครูตอเต่า และ krutortao.com ครูตอเต่าแบ่งปัน สร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ แจกฟรี สื่อการสอน แนะนำ สื่อการสอนฟรี สำหรับครู ดาวน์โหลดไฟล์ ใบงาน ใบความรู้ สื่อออนไลน์ แบบฝึกหัด ข้อสอบ ทุกรายวิชา ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ไฟล์เอกสารฟรี ไฟล์หน้าปกฟรี บทความ เอกสารทางการศึกษา ไฟล์เอกสารประเมินวิทยฐานะ  แบบทดสอบออนไลน์ รายงานการรอบรม เกียรติบัตร เพื่อให้ครูนำไปใช้เป็นในการจัดการเรียนการสอน ให้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ติดตามข่าวการศึกษา ข่าวทั่วไป อัพเดททันต่อเหตุการณ์ สอบครูผู้ช่วย แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย รวมทั้งหมดไว้ที่นี่ krutortao.com เว็บไซต์เพื่อการศึกษา และยังสามารถติดตามได้ทางแฟนเพจ ครูตอเต่า อีกช่องทาง เพื่อพัฒนาการศึกษาไทย โดยไม่แสวงหาผลกำไรแต่อย่างใด

Krutortao ครูตอเต่า เป็นเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อเผยแพร่ และแบ่งปัน ผลงานนครู สื่อการสอน หลักสูตรการ รับเกียรติบัตร แบ่งปันความรู้ เพื่อนำไปพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพครู โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และไม่มีการเรียกเก็บเงินใดๆ 

Share This Article
Exit mobile version