ครูสายบัว แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน PA สําหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหน่ง ครูวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ ทุกสังกัด

ครูสายบัว แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน PA สําหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหน่ง ครูวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ ทุกสังกัด

ครูสายบัว แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน PA สําหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหน่ง ครูวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ ทุกสังกัด

ครูสายบัว แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน PA สําหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหน่ง ครูวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ ทุกสังกัด

ด้านการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่ง เรียนรู้ การวัดและประเมินผลการ จัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือ ก า ร จั ด บรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียน และการอบรมและพัฒนา คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน

ด้านการส่งเสริมและสนับสนุน ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การจัดทําข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชา การดําเนินการ ตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การปฏิบัติงานวิชาการ และงาน อื่น ๆ ของสถานศึกษา และการ ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถาน ประกอบการ

ด้านการพัฒนาตนเองและ วิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ และการ นําความรู้ความสามารถ ทักษะที่ได้ จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้

ด้านการพัฒนาตนเองและ วิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ และการ นําความรู้ความสามารถ ทักษะที่ได้ จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้

สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน จากการสอนในรายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า นักเรียน ขาดทักษะและความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ในสถานการณ์ปัญหาที่พบในชีวิตประจําวัน นักเรียนขาดความ มั่นใจในการคิดแก้ไขปัญหาใกล้ตัวที่เกิดขึ้น ตลอดจนในปีการศึกษาที่ผ่านมา สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน ครู ประสบปัญหาในการจัดการ เรียนรู้ ขาดสื่อการเรียนการสอนที่ส่งเสริมสมรรถนะของนักเรียน และนักเรียนได้รับการส่งเสริมไม่เต็มตามศักยภาพ ของแต่ละบุคคล ซึ่งความท้าทายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะการคิดแก้ปัญหา จากการศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการ เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนดังกล่าว ผู้สอนจึงได้เล็งเห็นถึงความจําเป็นอย่างยิ่ง ในการพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาด้วยแบบฝึกทักษะรูปแบบ ผสมผสาน เรื่อง เทคโนโลยีแก้ปัญหา โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) รายวิชาการ ออกแบบและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ขึ้น

Share This Article
Exit mobile version