ไฟล์การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน 2566 โครงการพาน้องกลับมาเรียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ไฟล์การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน 2566 โครงการพาน้องกลับมาเรียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ไฟล์การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน 2566 โครงการพาน้องกลับมาเรียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

#การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน ตามโครงการ ” วิจัยระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2565 งานวิจัย ระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน ฉบับ เต็ม วิจัยระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2564 แนวทางการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน วิจัย ระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน 5 บท doc งานวิจัย ระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน 5 บท การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สพฐ วิจัย ระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน doc

Contents
ไฟล์การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน 2566ไฟล์การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน 2566ไฟล์การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน 2566 โครงการพาน้องกลับมาเรียน ภาคเหนือไฟล์การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน 2566 โครงการพาน้องกลับมาเรียน ภาคใต้ไฟล์การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน 2566 โครงการพาน้องกลับมาเรียน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือสนับสนุนเพจโดยการซื้อสินค้า Shopee ลุ้นเข้า VIP ฟรี

ไฟล์การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน 2566

ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการดำเนินงาน เกิดจากการประสานการดำเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่ลงพื้นที่และการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง มีการนำเทคโนโลยีเชื่อมโยงข้อมูล (Big Data) มาใช้เป็นเครื่องมือในการติดตาม ค้นหา และบันทึกผลการติดตาม ผ่านแอปพลิเคชัน “พาน้องกลับมาเรียน” และเว็บไซต์ dropout.edudev.in.th ที่สำคัญเกิดจากความร่วมแรงร่วมใจของผู้บริหาร ครู และบุคลากรการศึกษา ในการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเด็ก เพื่อค้นหาเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน ให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

สำหรับปัญหาอุปสรรคที่พบมีหลายด้านเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็น

  • ปัญหาด้านครอบครัว เนื่องจากนักเรียนที่หลุดระบบการศึกษาส่วนใหญ่มีฐานะยากจน มีปัญหาด้านค่าใช้จ่าย ครอบครัวหย่าร้าง ต้องช่วยพ่อแม่ประกอบอาชีพหารายได้เลี้ยงครอบครัว ประกอบกับมีพี่น้องหลายคนอาศัยอยู่กับปู่ย่า ตายาย จึงทำให้ไม่สามารถเข้าเรียนในระบบได้
  • ปัญหาด้านการบันทึกข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน เช่น นักเรียนได้ย้ายสถานศึกษาจากโรงเรียนเดิมไปแล้ว ซึ่งโรงเรียนได้ดำเนินการย้ายนักเรียนตามขั้นตอนดำเนินงานที่ถูกต้องแล้ว หรือนักเรียนจบการศึกษาในระดับชั้น ม.3 จากโรงเรียนขยายโอกาสฯ ไปแล้ว แต่ยังมีข้อมูลนักเรียนว่าเป็นนักเรียนออกกลางคัน
  • นักเรียนมีอายุเกินเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ โรงเรียนได้จำหน่ายนักเรียนออกจากฐานข้อมูลนักเรียนไปแล้ว แต่ยังมีข้อมูลนักเรียนว่าเป็นนักเรียนออกกลางคัน
  • ข้อมูลนักเรียนไม่เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ มีหลายฐานข้อมูล ส่งผลกระทบต่อการติดตามในเชิงพื้นที่
  • ขาดแคลนอุปกรณ์การเรียนในช่วงโควิด 19 ทำให้เรียนไม่ทัน จึงหยุดเรียน ประกอบกับผู้ปกครองพาเด็กไปทำงานรับจ้าง ส่งผลกระทบต่อการติดตามตัวเด็ก
  • ความหลากหลายของชาติพันธุ์นักเรียน เช่น กระเหรี่ยง มูเซอ แม้ว ไทยใหญ่ และประเทศเพื่อนบ้านที่อพยพมาจากพื้นที่ชายขอบ ที่มีวิถีทางขนบธรรมเนียมของแต่ละชนเผ่าที่เน้นให้ความสำคัญกับการดำรงชีวิต มากกว่าการมุ่งให้ความสำคัญในการศึกษา

อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การทำงานในเรื่องนี้เป็นไปตามเป้าหมาย ศธ.จึงมีข้อเสนอว่า อาจต้องแนะนำให้นักเรียนเข้าเรียนการศึกษานอกระบบ (กศน.) หรือเรียนสายวิชาชีพ เพื่อจะได้ประกอบอาชีพหารายได้เลี้ยงครอบครัว และสามารถเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับหรือการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมทั้งเร่งพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลนักเรียนในแอปพลิเคชัน Dropout ของ สพฐ. ให้เป็นระบบเดียวกัน เป็นปัจจุบัน และเชื่อมโยงกับข้อมูลของสถานศึกษาทุกสังกัด โดยใช้เลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก เพื่อป้องกันการบันทึกข้อมูลซ้ำซ้อนของสถานศึกษา หรือการเปลี่ยนชื่อ-สกุลของนักเรียน โดยให้หน่วยงานในระดับจังหวัดและภาคเข้ามาช่วยเรียกดูข้อมูลในภาพรวมของจังหวัดและภาคของตนเองได้ทันที เพื่อความรวดเร็วในการประสานงานและเก็บรวบรวมข้อมูล โดยมีการติดตามทุกภาคเรียน เพื่อความชัดเจนของข้อมูล

ไฟล์การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน 2566

#พาน้องกลับมาเรียน” #กรณีศึกษาภาคกกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูตอเต่า

ไฟล์การวิจัยอื่นๆ >> คลิ๊ก <<

การวิจัยออกแบบแนวทางการป้องกัน เฝ้าระวัง ติดตามและช่วยเหลือเด็กตกหล่นและออกกลางคัน ตามโครงการ

#พาน้องกลับมาเรียน” #กรณีศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ดาวน์โหลด
https://drive.google.com/…/1U0oqJ_I58BqQqNyqNcLjUb_4gLU…

สนับสนุนเพจโดยการซื้อสินค้า Shopee ลุ้นเข้า VIP ฟรี

เว็บไซต์ของเราเป็นผู้ช่วยกระจายข่าว
มิใช่ผู้จัดอบรมแต่อย่างใด

ติดตามเพจ FACEBOOK : ครูตอเต่า

ท่านสามารถติดต่อเข้าร่วมกลุ่ม ข่าวสาร เพื่อติดตามผลงานและสื่อต่าง ๆ ได้ที่ >> 

https://www.facebook.com/groups/298149415474258

ไลน์อบรมครู โปรดแตะลิงก์ด้านล่างเพื่อเข้าร่วมโอเพนแชทนี้

https://line.me/ti/g2/EHHH3OnnzJUgpigjqZkqyZUJcEaO8E-KmecbSw?utm_source=invitation&utm_medium=link_copy&utm_campaign=default

เกี่ยวกับเรา

ครูตอเต่า และ krutortao.com ครูตอเต่าแบ่งปัน สร้างขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ แจกฟรี สื่อการสอน แนะนำ สื่อการสอนฟรี สำหรับครู ดาวน์โหลดไฟล์ ใบงาน ใบความรู้ สื่อออนไลน์ แบบฝึกหัด ข้อสอบ ทุกรายวิชา ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ไฟล์เอกสารฟรี ไฟล์หน้าปกฟรี บทความ เอกสารทางการศึกษา ไฟล์เอกสารประเมินวิทยฐานะ   รายงานการรอบรมนับชั่วโมง เกียรติบัตร เพื่อให้ครูนำไปใช้เป็นในการจัดการเรียนการสอน ให้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ติดตามข่าวการศึกษา ข่าวทั่วไป อัพเดททันต่อเหตุการณ์ สอบครูผู้ช่วย แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย รวมทั้งหมดไว้ที่นี่ krutortao.com เว็บไซต์เพื่อการศึกษา และยังสามารถติดตามได้ทางแฟนเพจ ครูตอเต่า อีกช่องทาง เพื่อพัฒนาการศึกษาไทย โดยไม่แสวงหาผลกำไรแต่อย่างใด

Krutortao ครูตอเต่า เป็นเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อเผยแพร่ และแบ่งปัน ผลงานนครู สื่อการสอน หลักสูตรการ รับเกียรติบัตรออนไลน์ แบ่งปันความรู้ เพื่อนำไปพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพครู โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และไม่มีการเรียกเก็บเงินใดๆ 

Share This Article
Exit mobile version